วันเสาร์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2554

การดำเนินการทางวินัย [วินัย]

หัวข้อขอบเขต/เนื้อหาสาระสรุปขั้นตอนการดำเนินการ/
แนวทางปฏิบัติ
หลักฐานอ้างอิง/กฎหมาย
ระเบียบ หนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง
1.วินัย1.ความหมาย



2.ประเภท
1.การควบคุมความประพฤติให้เป็นไปตามระเบียบแบบแผน
2.ลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาว่าสามารถที่จะควบคุมตนเองให้อยู่ในกรอบของวินัย
1.วินัยอย่างไม่ร้ายแรง(ภาคทัณฑ์/ตัดเงินเดือน/ลดขั้นเงินเดือน)
2.วินัยอย่างร้ายแรง (ปลดออก/ไล่ออก)
1.คู่มือการดำเนินการทางวินัยพนักงานส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2545
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 21
2.การดำเนินการทางวินัย1.ความหมาย
2.ประเภท
1.การดำเนินการทั้งหลายที่กระทำเป็นพิธีการตามกฎหมายเมื่อมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย
1.การตั้งเรื่องกล่าวหา
2.การสืบสวนหรือสอบสวน
3.การพิจารณาความผิดและโทษ
4.การสั่งลงโทษหรืองดโทษ
5.การดำเนินการต่างๆระหว่างการสอบสวนและพิจารณาความผิด เช่น การสั่งพักราชการ การสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน
1.คู่มือการดำเนินการทางวินัยพนักงานส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2545
หน้า 25-115
3.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัยและการดำเนินการทางวินัยมีเนื้อหาสาระทั้งสิ้น 72 ข้อ1.ข้อกำหนดด้านสาระบัญญัติ (ข้อ 1-21) กำหนดให้พนักงานส่วนท้องถิ่นต้องประพฤติปฏิบัติตนอย่างไร และฐานความผิดทางวินัยมีอะไรบ้าง
2.ข้อกำหนดด้านวิธีสบัญญัติ (ข้อ 22-72) เป็นวิธีการดำเนินการทางวินัยทั้งกระบวนการ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 1-72
4.การอ้างกฎหมายกฎหมายเกี่ยวกับวินัย มี
1.มาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
2.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัยและการดำเนินการทางวินัย
3.หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการสอบสวน การลงโทษทางวินัย การให้ออกจากราชการ การอุทธณณ์และการร้องทุกข์ ของ ก.จังหวัด
-เมื่อ จะอ้างกฎหมายในการดำเนินการทางวินัยพนักงานส่วนท้องถิ่น(อบจ./เทศบาล/เมือง พัทยา/อบต.) ต้องอ้างหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการสอบสวน การลงโทษทางวินัย การให้ออกจากราชการ การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ ของ ก.จังหวัด เท่านั้น
-จะอ้างมาตรฐานกลางหรือมาตรฐานทั่วไป ไม่ได้
1.หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการสอบสวน การลงโทษทางวินัย การให้ออกจากราชการ การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ ของแต่ละ ก.จังหวัด
5.การชี้มูลและการตั้งเรื่อง เพื่อดำเนินการทางวินัย1.เป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการทางวินัย
2.นายกฯ ไม่ต้องสอบสวนข้อเท็จจริงเพื่อหามูลความผิดอีก
3.การดำเนินการทางวินัย อาจเกิดจาก
(1)มีผู้กล่าวหา/มีผู้ร้องเรียน โดยแจ้งชื่อที่อยู่ของตนเองที่แน่นอน และระบุกรณีที่กล่าวหา ซึ่งปรากฎตัวผู้กล่าวหา
(2)ผู้บังคับบัญชา/เพื่อนร่วมงาน/ผู้ใต้บังคับบัญชา/หรือบุคคลอื่น ฯลฯ ตรวจพบความผิด ซึ่งเป็นกรณีสงสัยโดยยังไม่มีพยานหลักฐาน
(3)หน่วยงานของรัฐชี้มูลให้ดำเนินการทางวินัย เช่น กระทวง ทบวง กรม สตง.หรือหน่วยงานตรวจสอบ ฯลฯ
1.ถ้ากรณียังไม่ชัดเจนให้สอบข้อเท็จจริงเสียก่อน
2.ถ้าเป็นกรณีความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง นายกฯ อาจสอบสวนโดย
(1)ดำเนินการเอง
(2)มอบหมายผู้อื่น
(3)ตั้งกรรมการสอบข้อเท็จจริงเพื่อลงโทษทางวินัยอย่างไม่ร้ายแรง หรือ
(4)ตั้งกรรมการสอบสวนวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
(1)-(4)ต้องมีองค์ประกอบ ดังนี้
ก.ต้องแจ้งและอธิบายข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ
ข.ต้องสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกกล่าวทราบ
ค.ต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา
3.ถ้า เป็นกรณีความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้นายกฯ แต่งตั้งคณะกรรมการ (ตามแบบ สว.1) ขึ้นทำการสอบสวน แล้วดำเนินการตามแบบ สว.2 ถึง สว.6 (กรณี สตง.ชี้มูล ให้ตรวจสอบก่อนว่าแจ้งให้ทำอะไร หากสอบข้อเท็จจริงต้องสอบข้อเท็จจริงก่อน แต่ถ้าให้ดำเนินการทางแพ่ง อาญา วินัย  อย่าตั้งกรรมการสอบข้อเท็จจริงซ้ำอีก)
1.หนังสือสำนักงาน ก.อบต.,ก.ท. และ ก.จ.ที่ มท 0809.2/ว195 ลงวันที่ 8 กันยายน 2548 และหนังสือสำนักงาน ก.พ.ที่ นค 1011/ว19 ลงวันที่ 14 กรกฎาคม 2547 เรื่องวิธีการก่อนดำเนินการทางวินัยและการสอบสวนวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
2.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 20
3.หนังสือสำนักงาน ก.จ.,ก.ท.และก.อบต.ที่ มท 0809.1/ว143 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2546

(4) ป.ป.ช.ชี้มูล4.ถ้าเป็นกรณี ป.ป.ช.ชี้มูล ไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการใดๆ ขึ้นมาทำการสอบสวนอีก ให้ใช้สำนวนของ ป.ป.ช.พิจารณาลงโทได้เลย1.พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มาตรา 92

(5) ป.ป.ช.ส่งเรื่องร้องเรียน โดยยังมิได้แต่งตั้งอนุกรรมการไต่สวน และส่งเรื่องมาให้ผู้บังคับบัญชาของผู้นั้นดำเนินการตามอำนาจหน้าที่5.ให้นายกฯดำเนินการสอบสวนตามอำนาจหน้าที่ แล้วรายงานให้ ป.ป.ช.ทราบ1.ประกาศ คปค.ฉบับที่ 31 ข้อ 6
2.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 22 วรรคสาม และข้อ 31 แล้วแต่กรณี
6.การพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย กรณี สตง.หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ชี้มูลให้ตรวจสอบการชี้มูลว่าเป็นวินัยอย่างไม่ร้ายแรงหรือวินัยอย่างร้ายแรง1.ถ้า เป็นวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยอย่างไม่ร้ายแรง(ไม่กระทบต่อการ เลื่อนขั้นเงินเดือน/เลื่อนระดับ ออกคำสั่งคล้ายกับการสอบสวนข้อเท็จจริง เพื่อป้องกันการเข้าใจผิดว่าเป็นวินัยอย่างร้ายแรง)
2.ถ้าเป็นวินัยอย่างร้ายแรงให้ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง (ตามแบบ สว.1)
หาก เป็นหนังสือ สตง.สังเกตได้จากท้ายหนังสือ เช่น "ให้ดำเนินการทางวินัย ตามควรแก่กรณี" และให้รายงานทุก 60 วัน มักเป็นวินัยอย่างไม่ร้ายแรง แต่ถ้าเป็นวินัยร้ายแรง มักจะระบุชัด เช่น น่าเชื่อว่าทุจริตต่อหน้าที่ หรือผิดวินัยอย่างร้ายแรง และให้รายงานทุก 90 วัน เป็นต้น
7.การพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย กรณี ป.ป.ช.ชี้มูลให้ให้สำนวนของ ป.ป.ช.พิจารณาโทษ ได้เลย1.ไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนใดๆ ขึ้นอีก
2.ให้ใช้สำนวน ป.ป.ช.พิจารณาโทษเลย
3.รายงาน ก.จังหวัดตามหลักเกณฑ์ฯ
1.พ.ร.บ.ป.ป.ช.มาตรา 92
8.การสอบสวนตามที่นายกฯ เห็นสมควร (วินัยอย่างไม่ร้ายแรง)อำนาจการสั่งสอบสวนต้องเริ่มต้นจากนายกฯ1.กรณีการสอบสวนมาแล้วโดยหน่วยงานอื่น หากนายกฯ จะลงโทษทางวินัยโดยไม่สอบสวนอีก ไม่ได้ (ยกเว้น ป.ป.ช.ชี้มูล)
2.นายกฯ อาจสอบสวนเองหรือมอบให้บุคคลอื่นสอบสวน หรือแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงเพื่อลงโทษทางวินัยอย่างไม่ร้ายแรง หรือสอบสวนวินัยอย่างไม่ร้ายแรงได้
1.หนังสือสำนักงาน ก.อบต.,ก.ท.และ ก.จ.ที่ มท 0809.2/ว195 ลงวันที่ 8 กันยายน 2548
2.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัยฯ ข้อ 20
3.หนังสือสำนักงาน ก.จ.,ก.ท.และ ก.อบต.ที่ มท 0809.1/ว143 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2546 
9.การยืมตัวกรรมการสอบสวนจากสังกัดอื่น1.เมื่อมีความจำเป็นต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย(ร้ายแรง/ไม่ร้ายแรง)
2.ไม่อาจแต่งตั้งพนักงานส่วนท้องถิ่นใน อปท.แห่งนั้นได้
1.ประสานภายในไปยัง อปท.อื่น หรือ อปท.ประเภทอื่น หรืออำเภอหรือจังหวัด ซึ่งเป็น "ต้นสังกัด"ของผู้ที่จะขอยืมตัวมาเป็นกรรมการสอบสวน
2.เมื่อมีการตอบรับจากผู้จะทำหน้าที่และผู้บังคับบัญชาของผู้นั้นแล้ว ให้ทำเป็นหนังสือขอยืมตัวตามนั้น
3.หลังจากได้รับหนังสือแจ้ง "อนุญาต" จากต้นสังกัดของผู้นั้นแล้ว ให้ดำเนินการออกคำสั่งแต่งตั้งเป็นกรรมการสอบสวนได้
4.คำว่า"ต้นสังกัด"หมายถึง
(1)ผู้ว่าราชการจังหวัด กรณีขอตัวข้าราชการพลเรือน ซึ่งอยู่ในกำกับดูแล
(2)นายอำเภอ กรณีขอตัวข้าราชการพลเรือน ซึ่งอยู่ในกำกับดูแล
(3)นายกฯ กรณีขอตัวข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่นในสังกัด
5.ต้องได้รับหนังสือแจ้ง "อนุญาต"เสียก่อนจึงจะดำเนินการออกคำสั่งแต่งตั้งเป็นกรรมการสอบสวนได้(ให้หลีกเลี่ยงออกคำสั่งก่อนรับอนุญาต)
1.หนังสือสำนักงาน ก.อบต.,ก.ท.และ ก.จ.ที่ มท 0809.2/ว205 ลงวันที่ 20 กันยายน 2548
10.คุณสมบัติของกรรมการสอบสวนทางวินัยหากคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย ไม่มีคุณสมบัติ แม้แต่คนเดียว จะทำให้การสอบสวนทั้งหมดเสียไป ไม่อาจนำมาพิจารณาลงโทษทางวินัยได้1.เป็นนิติกร หรือ
2.ได้รับปริญญาทางกฎหมาย หรือ
3.ได้รับการฝึกอบรมหลักสูตรการดำเนินการทางวินัย(เครือข่ายคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยฯ) หรือ
4.มีประสบการณ์ด้านการดำเนินการทางวินัย
5.หนึ่งในกรรมการสอบสวน อาจมีคุณสมบัติข้างต้นเพียงคนเดียว ก็ทำการสอบสวนได้
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัยฯ ข้อ 31 และ 61 
11.การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน เมื่อนายกฯเป็นคู่กรณี หรือถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดร่วมกับพนักงานส่วนท้องถิ่นนายกฯไม่อาจเลือกกรรมการสอบสวนได้เอง โดยลำพังให้ ก.จังหวัด ดำเนินการ ดังนี้
1.ตรวจสอบ
2.หากพบว่าเป็นความจริง
3.พิจารณาคัดเลือกผู้จะเป็นกรรมการสอบสวน
4.แจ้งต้นสังกัดของผู้ได้รับคัดเลือกทราบ
5.แจ้งรายชื่อผู้ได้รับคัดเลือกเป็นกรรมการให้นายกฯ ออกคำสั่งแต่งตั้งเป็นกรรมการสอบสวน
6.พิจารณาสำนวนสอบสวนแทนนายกฯ หลังจากคณะกรรมการสอบสวนแล้วเสร็จ และเสนอมา
7.แจ้งมติ ก.จังหวัด ไปให้นายกฯ สั่งหรือปฏิบัตินามมตินั้น
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 31 วรรคห้า,วรรคหก
12.การยกเลิกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน เมื่อออกแล้วยกเลิกมิได้1.เว้นแต่ออกคำสั่งผิดข้อเท็จจริงในสาระสำคัญ
2.หากมิใช่สาระสำคัญ ต้องแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ถูกต้องเท่านั้น
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 31 วรรคเจ็ด ข้อ 38 (หรือข้อ 40 จังหวัด)
13.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (แบบ สว.1)1.ข้อความที่ต้องระบุ
2.ขอความที่ไม่ต้องระบุ
1.ชื่อและตำแหน่งของผู้ถูกกล่าวหา
2.เรื่องที่กล่าวหา(ระบุเฉพาะพฤติการณ์)
3.ชื่อและตำแหน่งของกรรมการสอบสวน
1.ห้ามระบุฐานความผิด เพราะยังไม่ได้สอบสวน
2.ฐานความผิดจะเริ่มระบุตั้งแต่ สว.3 เป็นต้นไป
3.การระบุฐานความผิดในคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (สว.1) ตั้งแต่ต้น จะทำให้ไม่สามารถสอบสวนให้หมดประเด็น หรือสิ้นกระแสความได้
4.เมื่อใช้กับวินัยไม่ร้ายแรง ตัดคำว่า "ร้ายแรง"ออก
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ  32
14.การแจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (แบบ สว.1)นายกฯ ต้องแจ้งคำสั่งฯ นั้น โดยเร็ว1.แจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ
2.แจ้งให้ประธานกรรมการสอบสวนทราบ เพราะเมื่อประธานฯ รับทราบ เงื่อนเวลาการสอบสวนจะเริ่มนับทันที
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 33 และ 40
15.การคัดค้านกรรมการสอบสวนมีเหตุคัดค้านกรรมการสอบสวน (5 เหตุ)1.ให้ผู้ถูกกล่าวหา คัดค้านกรรมการสอบสวนผู้นั้น ภายใน 7 วัน นับแต่วันรับทราบคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
2.ให้นายกฯ ที่ออกคำสั่งฯพิจารณาสั่งการภายใน 15 วัน นับแต่วันได้รับคำคัดค้าน
3.หาก นายกฯไม่สั่งการอย่างใดอย่างหนึ่งภายใน 15 วัน ถือว่าผู้ถูกคัดค้านพ้นจากการเป็นกรรมการสอบสวนทันที (ห้ามเข้าร่วมทำการสอบสวน เพราะไม่มีฐานะเป็นกรรมการสอบสวนแล้ว)
(1)ให้เลขานุการ รายงานนายกฯ
(2)ให้เปลี่ยนแปลงตัวกรรมการที่พ้นจากการเป็นกรรมการนั้น
4.กรณีที่กรรมการเห็นว่าตนมีเหตุจะถูกคัดค้าน ก็ให้ดำเนินการเช่นเดียวกัน
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 36 และ 38
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 37
16.การนับเวลาสอบสวน1.เวลาสอบสวนปกติ 120 วัน
2.ขยายได้ไม่เกิน 2 ครั้งๆ ละไม่เกิน 30 วัน รวม 180 วัน
1.ระยะเวลาเริ่มนับเมื่อประธานกรรมการสอบสวนรับทราบคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
2.เมื่อครบ 120 วัน สอบสวนไม่แล้วเสร็จให้ประธานกรรมการสอบสวน ขอขยายเวลาต่อนายกฯ ที่ออกคำสั่งแต่งตั้งฯ
3.เมื่อครบ 180 วัน สอบสวนไม่แล้วเสร็จให้ประธานกรรมการสอบสวนขอขยายเวลาไปยัง ก.จังหวัด เพื่อกำหนดเงื่อนเวลาเร่งรัด
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 40
2.การสอบสวนที่เกิน 180 วัน ไม่ทำการสอบสวนทั้งหมดเสียไป แต่หากคณะกรรมการสอบสวนประวิงเวลาอาจถูกร้องเรียนกล่าวหาเสียเอง
17.การดำเนินการทางวินัยแก่ผู้ออกจากราชการไปแล้วถูกกล่าวหาก่อนออกจากราชการ (เว้นแต่ออกเพราะตาย) นายกฯ มีอำนาจดำเนินการทางวินัย เสมือนว่ายังมิได้ออกจากราชการ1.เป็นการกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงเป็นหนังสือต่อ
(1)ผู้บังคับบัญชาของผู้นั้น
(2)ผู้มีหน้าที่สืบสวนสอบสวน
(3)ผู้มีหน้าที่ตรวจสอบตามกฎหมาย หรือ
(1)ผู้บังคับบัญชาของผู้นั้นกล่าวหาเองเป็นหนังสือ
(2)ถูกฟ้องคดีอาญา
(3)ต้องหาว่ากระทำผิดอาญา
2.ถ้ากล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง นายกฯไม่มีอำนาจดำเนินการทางวินัยได้อีก
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 24
18.การกระทำที่ปรากฎชัดแจ้งดำเนินการทางวินัย โดย
1.ไม่สอบสวน หรือ
2.งดการสอบสวน ก็ได้
1.กระทำผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
(1)ศาล มีคำพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทำผิด และนายกฯ เห็นว่าข้อเท็จจริงตามคำพิพากษา ประจักษ์ชัดแล้ว (ต้องแจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบคำพิพากษาด้วย)
(2)รับสารภาพเป็นหนังสือต่อนายกฯ หรือรับสารภาพต่อ
1.ผู้มีหน้าที่สืบสวน
2.คณะกรรมการสอบสวนและได้บันทึกถ้อยคำรับสารภาพเป็นหนังสือ
2.กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง
(1)ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก (จริงๆ) (ต้องแจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบคำพิพากษาด้วย)
(2)ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเกิน 15 วัน และนายกฯได้สืบสวนแล้ว เห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควร
(3)รับสารภาพเป็นหนังสือต่อนายกฯ หรือรับสารภาพต่อ
1.ผู้มีหน้าที่สืบสวน
2.คณะกรรมการสอบสวน
และได้บันทึกถ้อยคำรับสารภาพเป็นหนังสือ
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 27
2.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 28
19.การสอบสวนหรือรวบรวมพยานหลักฐานต่างท้องที่(อาจไกลโดยระยะทาง ไม่สามารถเดินทางไปสอบสวนเอง ฯลฯ)
1.ประธานกรรมการสอบสวนรายงานต่อนายกฯ เพื่อขอให้นายกฯ/หัวหน้าส่วนราชการในท้องที่นั้นสอบสวนหรือรวบรวมแทน
2.ให้นายกฯขอให้นายกฯ/หัวหน้าส่วนราชการในท้องที่นั้น แต่งตั้งข้าราชการ/พนักงานในสังกัดอย่างน้อย 2 คน ร่วมเป็น คณะทำการสอบสวน
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ  51
20.กรรมการสอบสวนเห็นนอกเหนือจากเรื่องที่ระบุในคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (ในขณะสอบสวน)กรรมการสอบสวนต้องกำหนดประเด็นหรือข้อสำคัญที่จะต้องสอบสวน
1.กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงในเรื่องอื่น
2.หย่อนความสามารถ
3.บกพร่องในหน้าที่
4.ประพฤติตนไม่เหมาะสม
1.ให้ประธานกรรมการสอบสวน รายงานไปยั่งนายกฯ โดยเร็ว
2.ถ้านายกฯ เห็นด้วย ให้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นทำการสอบสวน (แบบ สว.1)
3.กรรมการสอบสวนจะเป็นชุดเดิมหรือชุดใหม่ก็ได้
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 52
21.การสอบสวนพาดพิงถึงพนักงานส่วนท้องถิ่นผู้อื่นพนักงานส่วนท้องถิ่นผู้อื่นนั้น มิใช่เป็นผู้ถูกกล่าวหา1.ให้กรรมการสอบสวนพิจารณาว่าผู้นั้นมีส่วนกระทำผิดในเรื่องนั้นหรือไม่
2.หากเห็นว่ามี ให้ประธานกรรมการสอบสวน รายงานไปยังนายกฯ โดยเร็ว
3.ถ้านายกฯ เห็นด้วย ให้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นทำการสอบสวน (แบบ สว.1)
4.กรรมการสอบสวนจะเป็นชุดเดิมหรือชุดใหม่ก็ได้
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 53
22.การโอน (ย้าย)ระหว่างการสอบสวนคณะกรรมการสอบสวนต้องสอบต่อไปจนแล้วเสร็จให้นายกฯ คนเดิม และนายกฯคนใหม่ ตรวจความถูกต้อง แล้วให้นายกฯคนใหม่ ใช้สำนวนนั้นพิจารณราลงโทษจากสำนวนเดิมได้เลย1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 56
23.การเสนอสำนวนการสอบสวน (แบบ สว.6)1.กรรมการต้องมีความเห็น
2.เสนอต่อนายกฯโดยตรง
ไม่ต้องเสนอผ่านปลัด อปท.เนื่องจากเป็นเรื่องเฉพาะที่กฎหมายกำหนดไว้1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 58
2.หนังสือสำนักงาน ก.อบต.ที่ มท 0809.6/ว139 ลงวันที่ 5 กันยายน 2549
24.ผู้ถูกกล่าวหาตายระหว่างการสอบสวนยุติการสอบปากคำให้คณะกรรมการสอบสวน
1.รวบรวมพยานหลักฐานเท่าที่มี
2.วินิจฉัยว่าผู้ตายผิดวินัยอย่างร้ายแรงหรือไม่
3.ถ้าผิด จะลงโทษเพียงใด
4.ปลดออกได้รับบำเหน็จ/ไล่ออกไม่ได้รับ
ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการขอรับบำเหน็จ บำนาญ
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 24
2.หลักเกณฑ์การจ่ายบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น
25.กรณีพนักงานส่วนท้องถิ่นเกี่ยวข้องกับยาเสพติด (ผลิต/เสพ/ค้า ฯลฯ)ให้นายกฯออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (ฐานประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง/ขาดคุณสมบัติเบื้องต้น)1.เสนอขอความเห็นชอบจาก ก.จังหวัด เพื่อสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน
2.จนกว่าคดีจะถึงที่สุด
1.หนังสือสำนักงาน ก.อบต.,ก.ท.และ ก.จ.ที่ มท 0809.1/ว733 ลงวันที่ 12 พฤษภาคม 2546
26.กรณีต้องหาคดีอาญา/ถูกฟ้องคดีอาญาต้องดำเนินการทางวินัยไปพร้อมกันด้วย1.เมื่อลงนามรับทราบข้อกล่าวหาของพนักงานสอบสวน (กรณีต้องหาคดีอาญา)
2.เมื่อศาลประทับรับฟ้อง (กรณีถูกฟ้องคดี)
3.นายกฯ ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย ตามควรแก่กรณีทันที
1.หนังสือสำนักงาน ก.พ.ที่ สร 0905/ว4 ลงวันที่ 18 มีนาคม 2509
2.หนังสือกระทรวงมหาดไทย ลับ ที่ 13333/2498 ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2498
3.หนังสือสำนักงาน ก.อบต.ที่ มท 0809.2/ว740 ลงวันที่ 11 พฤษภาคม 2547
27.การเลื่อนขั้นเงินเดือนระหว่างถูกดำเนินการทางวินัย รวมถึงการเลื่อนระดับ1.กรณีแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนอย่างไม่ร้ายแรง

2.กรณีแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนอย่างร้ายแรง
1.เลื่อนขั้นเงินเดือนได้ตามปกติ
2.เลื่อนขั้นเงินเดือนไม่ได้ และเลื่อนระดับไม่ได้
(1)ถึงรอบการเลื่อนขั้นเงินเดือน ให้รอเลื่อนขั้นโดยกันเงินไว้
(2)สามารถกันเงินไว้หลายครั้ง จนกว่าการสอบสวนจะแล้วเสร็จ
1.หนังสือสำนักงาน ก.จ.,ก.ท.และ ก.อบต.ที่ มท 0809.1/ว71 ลงวันที่ 22 มกราคม 2546

3.กรณีมีคำสั่งลงโทษทางวินัย3.การเลื่อนขั้นเงินเดือนให้ดำเนินการ ดังนี้
(1)ถูกลงโทษไม่หนักกว่าภาคทัณฑ์ เลื่อนได้
(2)ถูกลงโทษตั้งแต่ตัดเงินเดือนขึ้นไป เลื่อนไม่ได้
(3)กรณีรอการเลื่อนขั้นเงินเดือนไว้และได้รับโทษตาม(1) ให้เลื่อนขั้นเงินเดือนที่รอไว้ทุกครั้ง
(4)กรณี รอการเลื่อนขั้นเงินเดือนไว้ และได้รับโทษตัดเงินเดือนและลดขั้นเงินเดือน ให้งดเลื่อนขั้นเงินเดือนที่รอไว้ในครั้งที่จะถูกลงโทษเพียงครั้งเดียว
(5)กรณีรอการเลื่อนขั้นเงินเดือนไว้ และได้รับโทษปลดออก/ไล่ออกจากราชการ ให้งดเลื่อนขั้นเงินเดือนที่รอไว้ทุกครั้ง
(6)กรณีงดเลื่อนขั้นเงินเดือนที่รอไว้มาแล้ว ให้เลื่อนขั้นเงินเดือนในครั้งต่อไปตามปกติ เพื่อไม่ให้ลงโทษซ้ำในความผิดเดียวกัน

28.มติ ครม.มติ ก.พ.ที่เกี่ยวกับวินัยนำมาใช้กับพนักงานส่วนท้องถิ่นด้วยทั้งที่มีอยู่แล้วและจะมีขึ้นในอนาคต เฉพาะในเรื่องเกี่ยวกับวินัยเท่านั้น1.หนังสือสำนักงาน ก.จ.,ก.ท.และ ก.อบต.ที่ มท 0313.3/ว889 ลงวันที่ 30 สิงหาคม 2545
29.ค่าสมนาคุณคณะกรรมการสอบสวนสามารถเบิกจ่ายได้เฉพาะการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรงเท่านั้น1.เบิกจ่ายจาก อปท.เจ้าของเรื่องผู้ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง
2.อัตราการเบิกจ่าย
(1)สอบสวนตามปกติครั้งละ 250 บาท
(2)สอบสวนเพื่อมีมติสรุปพยานหลักฐาน และมีมติว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงหรือไม่ ครั้งละ 300 บาท
(3)เบิกได้เพียงการประชุม 60 วัน นับแต่วันประชุมครั้งแรก
1.หนังสือสำนักงาน ก.อบต.,ก.ท.และ ก.จ.ที่ มท 0809.1/ว381 ลงวันที่ 19 มีนาคม 2546
30.การเสนอรายงานการสอบสวน (แบบ สว.6)เสนอตามแบบ สว.6โดยต้องมีความเห็นด้วยเสนอต่อนายกฯ ผู้ออกคำสั่งแต่งตั้งเพื่อพิจารณา เว้นแต่กรณีตามข้อ 8 เมื่อเสนอแล้วถือว่า การสอบสวนแล้วเสร็จ1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 58
31.กรณีมีความเห็นแย้งกรรมการสอบสวนผู้ใดมีความเห็นแย้ง1.ให้ทำความเห็นแย้งแนบไว้กับรายงานการสอบสวน
2.ให้ถือความเห็นแย้งเป็นส่วนหนึ่งของรายงานการสอบสวน
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 58
32.รายงานการสอบสวน (แบบ สว.6)ต้องมีสาระสำคัญ (อย่างน้อย) ดังนี้1.สรุปข้อเท็จจริงและพยานหลักฐาน
2.วินิจฉัยเปรียบเทียบพยานหลักฐาน
3.ความเห็นของกรรมการสอบสวน
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 58
33.การออกคำสั่งลงโทษ
(แบบ ลท.1-4)
1.กรณีแต่งตั้งกรรมการสอบสวนวินัยอย่างไม่ร้ายแรง1.คณะ กรรมการสอบสวนเห็นว่าเป็นวินัยไม่ร้ายแรง (ภาคทัณฑ์/ตัดเงินเดือน/ลดขั้นเงินเดือน) นายกฯเห็นว่าเป็นวินัยไม่ร้ายแรงด้วย นายกฯสามารถลงโทษวินัยไม่ร้ายแรงได้เลยทุกระดับ
2.คณะกรรมการสอบสวน หรือนายกฯ เห็นว่าเป็นวินัยอย่างร้ายแรง ต้องกลับไปตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรงใหม่ให้ถูกต้อง
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 67 และ 68

2.กรณีแต่งตั้งกรรมการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง1.คณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าเป็นวินัยไม่ร้ายแรง (ภาคทัณฑ์/ตัดเงินเดือน/ลดขั้นเงินเดือน)
นายกฯ เห็นว่าเป็นวินัยไม่ร้ายแรงด้วย นายกฯสามารถลงโทษวินัยไม่ร้ายแรงได้เลยทุกระดับ
2.คณะ กรรมการสอบสวนหรือนายกฯ เห็นว่าเป็นวินัยอย่างร้ายแรง (ปลดออก/ไล่ออก) ต้องรายงานไปให้ ก.จังหวัด พิจารณาก่อน เมื่อ ก.จังหวัดมีมติเป็นประการใด ให้นายกฯ สั่งหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามนั้น
2.หนังสือสำนักงาน ก.จ.,ก.ท.และ ก.อบต.ที่ มท 0809.2/ว842 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2548
34.การปฏิบัติตามคำสั่งลงโทษเมื่อนายกฯออกคำสั่งลงโทษ1.ให้ผู้เกี่ยวข้องปฏิบัติตามคำสั่งลงโทษทันที
2.ไม่ต้องรอการพิจารณารายงานของ ก.จังหวัด
3.เพราะเป็นคนละขั้นตอนกัน
4.หาก เป็นขั้นตอนการพิจารณารายงานการดำเนินการทางวินัยของ ก.จังหวัด เมื่อ ก.จังหวัดมีมติเปลี่ยนแปลงเพิ่ม /ลดโทษ ค่อยมาดำเนินการตามแบบ ลท5-7
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 67,68,69 และ 70
35.การรายงานการดำเนินการทางวินัยให้นายกฯรายงานตรงไปยัง ก.จังหวัด1.เมื่อนายกฯดำเนินการแล้วให้รายงานตรงไปยัง ก.จังหวัดได้เลย
2.กรณีอำเภอ/จังหวัดชี้มูล เมื่อนายกฯดำเนินการแล้วให้รายงานตรงไปยัง ก.จังหวัดได้เลย แล้วรายงานผลให้อำเภอหรือจังหวัดทราบด้วย
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 70
2.หนังสือสำนักงาน ก.จ.,ก.ท.และ ก.อบต.ที่ มท 0809.2/ว1703ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2546
36.การพิจารณารายงานการดำเนินการทางวินัย1.ก.จังหวัด รับเรื่อง
2.ส่งอนุวินัยฯ ทำความเห็น
1.ก.จังหวัดมีมติเป็นประการใด ให้นายกฯสั่งปฏิบัติให้เป็นไปตามนั้น
2.กรณีมีมติเพิ่มโทษ ให้นายกฯออกคำสั่งเพิ่มโทษ
3.กรณีมติลดโทษ ให้นายกฯออกคำสั่งลดโทษ
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 70
37.การพิจารณารายงานการดำเนินการทางวินัย เมื่อมีการยื่นอุทธรณ์คำสั่งลงโทษด้วยอนุอุทธรณ์ฯ เป็นผู้ทำความเห็น (อนุวินัยฯ ไม่ต้องทำความเห็น)อนุวินัยฯ ต้องส่งเรื่องการรายงานการดำเนินการทางวินัยให้อนุอุทธรณ์ฯ เท่านั้นเป็นผู้ทำความเห็น1.หนังสือสำนักงาน ก.จ.,ก.ท.และ ก.อบต.ที่ มท 0313.3/345 ลงวันที่ 18 กันยายน 2545
38.การรายงานการดำเนินการทางวินัยไปยัง ก.กลางรายงานตามแบบ สป.1
(โดยสำนักงาน ก.จังหวัด)
เพื่อศึกษาวิจัยและแนะนำให้ดำเนินการให้ถูกต้องมีมาตรฐานเดียวกัน1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 70
39.การเลื่อนขั้นเงินเดือน กรณีมีการรอเลื่อนขั้นเงินเดือนไว้หากถูกลงโทษหนักกว่าภาคทัณฑ์ แต่ไม่ถึงกับปลด หรือออกไล่ออก1.ให้งดการเลื่อนขั้นเงินเดือนครั้งหลังสุดที่รอไว้ครั้งก่อนหน้านั้น เลื่อนให้ทุกครั้ง
2.ให้เลื่อนขั้นเงินเดือนครั้งต่อไปได้ตามปกติ
1.หนังสือสำนักงาน ก.จ.,ก.ท.และ ก.อบต.ที่ มท 0809.6/784 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2550
40.ดุลพินิจในการให้ความเห็นย่อมไม่ผูกพันผู้ใช้อำนาจว่า จะต้องเห็นตามดุลพินิจ ในการให้ความเห็นแต่ละระดับ เช่น คณะกรรมการสอบสวน นายกฯ อนุวินัยฯ อนุอุทธรณ์ หรือ ก.จังหวัด ย่อมเป็นอิสระต่อกัน ขึ้นอยู่ที่เหตุผลในการใช้ดุลพินิจนั้น แต่ต้องเป็นไปโดยชอบทฤษฎีการใช้ดุลพินิจ
41.การสอบสวนเพิ่มเติม1.สอบสวนเพิ่มเติมในชั้นของนายกฯ
2.สอบสวนเพิ่มเติมในชั้นของ ก.จังหวัด
1.ให้นายกฯกำหนดประเด็น
2.ให้ ก.จังหวัด กำหนดประเด็น
3.กรรมการสอบสวนชุดเดิม ทำการสอบสวน หากกรรมการไม่ครบองค์ให้แต่งตั้งเพิ่ม
4.กรรมการสอบสวนไม่ต้องทำความเห็น
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 60 และ 71
42.อำนาจในการออกคำสั่งลงโทษ1.เป็นอำนาจของนายกฯ
2.นายกฯ อาจมอบอำนาจให้ผู้บังคับบัญชาใน อปท.นั้น ได้
1.นายกฯ ลงโทษได้เองในระดับภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน (ไม่เกิน 5%ไม่เกิน 3 เดือน) ลดขั้นเงินเดือน (ไม่เกิน 1 ขั้น)
2.อำนาจลงโทษของผู้บังคับบัญชาใน อปท.ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ฯ ของ ก.จังหวัด และนายกฯ ต้องมอบอำนาจด้วย
3.หากเป็นโทษปลดออก/ไล่ออก ต้องเสนอ ก.จังหวัด ให้เห็นชอบก่อน นายกฯ จึงออกคำสั่งได้
1.พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 มาตรา 15
2.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 67
3.หลักเกณฑ์และเงื่อนไขฯ ของ ก.จังหวัด ข้อ 69
43.อำนาจการพิจารณาเพิ่มโทษของ ก.จังหวัดต้องไม่เกินอำนาจของนายกฯ1.เพิ่มโทษตัดเงินเดือนได้ไม่เกิน 5% ไม่เกิน 3 เดือน
2.ลดขั้นเงินเดือนได้ไม่เกิน 1 ขั้น
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 67 และ 70
44.อำนาจในการดำเนินการทางวินัย1.เป็นข้าราชการ
2.ผู้บังคับบัญชาปัจจุบัน
1.ผู้ ถูกดำเนินการทางวินัยต้องมีสถานภาพเป็นข้าราชการ (ยกเว้นข้อ 24 ของมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยฯ ซึ่งออกจากราชการไปแล้ว แต่ยังถูกดำเนินการทางวินัยได้)
2.นายกฯ สังกัดปัจจุบันเท่านั้นที่มีอำนาจดำเนินการ
1.พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 มาตรา 15
2.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 24
45.การสั่งพักราชการ/การสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน1.สั่งพักราชการหรือสั่งให้ออกจากราชการได้เมื่อมีเหตุ
2.สั่งพัก/สั่งให้ออกตลอดเวลาที่ทำการสอบสวนพิจารณา (เว้นแต่มีข้อยกเว้น)
1.ถูกแต่งตั้งกรรมการสอบสวน (เฉพาะวินัยอย่างร้ายแรง)
2.ถูกฟ้องคดีอาญา
3.ต้องหาว่ากระทำความผิดอาญา
(2. และ 3. ในเรื่องเกี่ยวกับการทุจริตต่อหน้าที่ราชการ หรือเกี่ยวกับความประพฤติหรือพฤติการณ์อันไม่น่าไว้วางใจ ซึ่งอัยการมิได้รับเป็นทนายแก้ต่างให้ และนายกฯ เห็นว่าหากคงอยู่ในหน้าที่อาจเกิดความเสีย ฯลฯ)
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการให้ออกจากราชการ ข้อ 12,13 และข้อ 17
46.การอุทธรณ์โทษทางวินัยผู้ถูกลงโทษทางวินัย (ภาคทัณฑ์/ตัดเงินเดือน/ลดขั้นเงินเดือน/ปลดออก/ไล่ออก)1.ยื่นอุทธรณ์ต่อ ก.จังหวัด
2.ภายใน 30 วันนับแต่วันรับทราบคำสั่ง
3.โดยทำเป็นหนังสือ
4.จะอุทธรณ์แทนผู้อื่นหรือมอบให้ผู้อื่นอุทธรณ์แทนมิได้
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับสิทธิการอุทธรณ์ การพิจารณาอุทธรณ์และการร้องทุกข์ ข้อ 1 และ 6
47.การร้องทุกข์1.มิได้ถูกลงโทษทางวินัย
2.ถูกให้ออกจากราชการ
3.เห็นว่าผู้บังคับบัญชา
(1)ปฏิบัติต่อตนไม่ถูกต้อง
(2)ไม่ปฏิบัติต่อตนให้ถูกต้อง
(3)ปฏิบัติให้เกิดความคับข้องใจต่อตน
1.ยื่นเรื่องร้องทุกข์ต่อ ก.จังหวัด
2.ภายใน 30 วัน นับแต่วันรับทราบเหตุ
3.โดยทำเป็นหนังสือ
4.จะร้องทุกข์แทนผู้อื่นหรือมอบให้ผู้อื่นร้องทุกข์แทนมิได้
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับสิทธิการอุทธรณ์ การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ ข้อ 21,22 และ 24
48.การร้องต่อ ก.กลางผู้อุทธรณ์/ร้องทุกข์ เห็นว่ามติของ ก.จังหวัด ขัดแย้งกับมาตรฐานทั่วไป1.มีสิทธิร้องต่อ ก.กลาง
2.ให้ ก.กลางพิจารณาดำเนินการตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคล พ.ศ.2542 มาตรา 19 วรรคสอง
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับสิทธิการอุทธรณ์ การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ ข้อ 3

49.การยื่นคำฟ้องต่อศาลปกครองสามารถกระทำได้ ถ้าเห็นว่าเป็นคำสั่งทางปกครองที่มิชอบต้องให้กระบวนการทางการบริหารเสร็จสิ้นในระดับ ก.จังหวัดแล้ว โดยไม่อาจอุทธรณ์/ร้องทุกข์ต่อ ก.จังหวัดได้อีก1.พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.2542 มาตรา 43 
50.การรายงาน ก.กลาง ตามแบบ สป.11.เมื่อกระบวนการทางวินัยเสร็จเรียบร้อย
2.เมื่อการพิจารณาอุทธรณ์แล้วเสร็จ
1.สำนักงาน ก.จังหวัด รายงานไปยัง ก.กลาง ตามแบบบันทึกสรุปประวัติและข้อเท็จจริง (สป.1)
ให้ท้องถิ่นจังหวัดลงนามใน แบบ สป.1
1.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย ข้อ 67 และ 70
2.มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับสิทธิการอุทธรณ์ การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ ข้อ 3
51.การเลื่อนขั้นเงินเดือนที่รอไว้1.ถูกลงโทษภาคทัณฑ์
2.ถูกลงโทษตัดเงินเดือน/ลดขั้นเงินเดือน
1.เลื่อนขั้นเงินเดือนทุกครั้งที่รอ
2.เงินเดือนครั้งสุดท้ายที่รอ ให้งดเลื่อน
3.เมื่องดเลื่อนตาม 2.แล้ว ให้เลื่อนเงินเดือนครั้งต่อไปตามปกติ
1.หนังสือสำนักงาน ก.จ.,ก.ท.และ ก.อบต.ที่ มท 0809.6/784 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2550
52.พ.ร.บ.ล้างมลทินฯ1.ให้ล้างมลทินบรรดาผู้ต้องโทษทางวินัย
2.ให้ระงับการพิจารณา กรณีถูกดำเนินการทางวินัย
1.นายกฯ มีคำสั่งลงโทษก่อนหรือในวันที่ 5 ธันวาคม 2550 และได้รับโทษไปทั้งหมดหรือบางส่วนแล้ว
2.นายกฯ สั่งยุติเรื่องหรืองดโทษก่อนหรือในวันที่ 5 ธันวาคม 2551
1.พ.ร.บ.ล้างมลทินในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระชนมายุ 80 พรรษา พ.ศ.2550

ที่มาจาก : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=354018

วันพุธที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2554

แบบ ลท.2 ลงโทษตัดเงินเดือน [วินัย]


(ครุฑ)


แบบ ลท.2


คำสั่ง....(ระบุชื่อส่วนราชการ)....

                                                                 ที่............./.........(เลข  พ.ศ.)
เรื่อง  ลงโทษตัดเงินเดือน
                                               
                               
                                ด้วย..................(ระบุชื่อผู้ถูกลงโทษ).........................พนักงานส่วนตำบล............................. 
ตำแหน่ง..............................................ระดับ..............สังกัด........................................ตำแหน่งเลขที่................... 
รับเงินเดือนในอันดับ........................ขั้น........................บาท  ได้กระทำผิดวินัยกรณี...........(ระบุกรณีกระทำผิดโดยสรุป  ถ้ามีหลายกรณีให้ระบุทุกกรณี).............................................................................................................
เป็นการกระทำผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงฐาน..............(ความ ข้อ                 )..........................................................
ตามข้อ 5 วรรค 1 แห่งประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตำบลจังหวัดสุรินทร์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการสอบสวน  การลงโทษทางวินัย  การให้ออกจากราชการ  การอุทธรณ์  และการร้องทุกข์  สมควรได้รับโทษตัดเงินเดือน...........% เป็นเวลา........................เดือน
                                ฉะนั้น  อาศัยอำนาจตามความในมาตรา  15  แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542  และ ข้อ 69(1)  แห่งประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตำบลจังหวัด.......เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการสอบสวน  การลงโทษทางวินัย  การให้ออกจากราชการ  การอุทธรณ์  และการร้องทุกข์  จึงให้ลงโทษตัดเงินเดือน.........(ระบุชื่อผู้ถูกลงโทษ และอัตราโทษ)...........% เป็นเวลา............เดือน 
                                หาก......... (ระบุชื่อผู้ถูกลงโทษ)...................................................... ประสงค์จะอุทธรณ์คำสั่งลงโทษให้อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตำบลภายในสามสิบวันนับแต่วันทราบคำสั่ง

                                ทั้งนี้  ตั้งแต่เดือน..................................... พ.ศ. .................... เป็นต้นไป
                                                     สั่ง    วันที่.........เดือน.....................พ.ศ...........
                                                             (ลงชื่อ)
                                                                        (....................ชื่อผู้สั่ง..................)
                                                                        ...................(ตำแหน่ง).................

แบบ ลท.1 คำสั่งลงโทษ ภาคทัณฑ์ [วินัย]

แบบ ลท.1


คำสั่ง....(ระบุชื่อส่วนราชการ)....

                                                                               (ครุฑ)
                                                                 ที่............./.........(เลข  พ.ศ.)
เรื่อง  ลงโทษภาคทัณฑ์
                                               
                               
                                ด้วย..................(ระบุชื่อผู้ถูกลงโทษ).........................พนักงานส่วนตำบล............................. 
ตำแหน่ง..............................................ระดับ..............สังกัด........................................ตำแหน่งเลขที่................... 
รับเงินเดือนในอันดับ........................ขั้น........................บาท  ได้กระทำผิดวินัยกรณี...........(ระบุกรณีกระทำผิดโดยสรุป  ถ้ามีหลายกรณีให้ระบุทุกกรณี).............................................................................................................
เป็นการกระทำผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงฐาน..............(ความ ข้อ 5 วรรค 1)............................................................
ตามข้อ 5 วรรค 1 แห่งประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตำบลจังหวัด........... เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการสอบสวน  การลงโทษทางวินัย  การให้ออกจากราชการ  การอุทธรณ์  และการร้องทุกข์  สมควรได้รับโทษภาคทัณฑ์
                                ฉะนั้น  อาศัยอำนาจตามความในมาตรา  15  แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542  และ ข้อ 69(1)  แห่งประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตำบลจังหวัดสุรินทร์ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการสอบสวน  การลงโทษทางวินัย  การให้ออกจากราชการ  การอุทธรณ์  และการร้องทุกข์  จึงให้ลงโทษภาคทัณฑ์.........(ระบุชื่อผู้ถูกลงโทษ).............................. 
                                หาก......... (ระบุชื่อผู้ถูกลงโทษ)...................................................... ประสงค์จะอุทธรณ์คำสั่งลงโทษ  ให้อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพนักงานส่วนตำบลภายในสามสิบวันนับแต่วันทราบคำสั่ง

                                ทั้งนี้  ตั้งแต่..................................... พ.ศ. .................... เป็นต้นไป
                                                     สั่ง  ณ  วันที่.........เดือน.....................พ.ศ...........
                                                             (ลงชื่อ)
                                                                        (....................ชื่อผู้สั่ง..................)
                                                                        ...................(ตำแหน่ง).................

หนังสือว่ากล่าวตักเตือน (ตัวอย่าง)[วินัย]

หนังสือว่ากล่าวตักเตือน

เขียนที่องค์การบริหารส่วนตำบล………..

                                                                                วันที่............เดือน........................พ.ศ..........

                                ด้วย นาย ..................................................................................... พนักงานส่วนตำบล
ตำแหน่ง.......................................................ระดับ........................ ส่วน........................................................สังกัด องค์การบริหารส่วนตำบล……….   ได้กระทำผิดวินัยในกรณี………………………………………………………………อันเป็นการกระทำผิดวินัย ฐาน.......................................................................................ตามข้อ ....................... ตามประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตำบลจังหวัด...............  เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการสอบสวน การลงโทษทางวินัย การให้ออกจากราชการ การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์  ซึ่งเป็นกรณีกระทำผิดวินัยเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ ข้าพเจ้างดโทษให้    จึงได้ว่ากล่าวตักเตือน นาย.............................................................................................เพื่อให้พึงสังวรตนและระมัดระวังในการปฏิบัติหน้าที่ราชการตามระเบียบแบบแผนของทางราชการและรักษาวินัยโดยเคร่งครัดอยู่เสมอ หากกระทำผิดวินัยอีก จะถูกลงโทษทางวินัยต่อไป



                                                                                 (ลงชื่อ).....................................................ผู้ว่ากล่าวตักเตือน
                                                                                                (..................................................)
                                                                                 นายกองค์การบริหารส่วนตำบล...........................


                                                                                 (ลงชื่อ)...........................................ผู้ถูกว่ากล่าวตักเตือน
                                                                                          (..................................................)



วันอังคารที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2554

แบบ สว.6 รายงานการสอบสวน[วินัย]

แบบ สว.๖
รายงานการสอบสวน
เรื่อง  การสอบสวน.....................................................................................................ซึ่งถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแง

เรียน  ..............................................................(ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน)

                               ตามที่ได้มีคำสั่ง องค์การบริหารส่วนตำบล......................................ที่............./................................ลงวันที่.......................เดือน..........................................พ.ศ...............................เพื่อสอบสวน....................................................................................ซึ่งถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง นั้น

                               ประธานกรรมการได้รับทราบคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนดังกล่าว  เมื่อวันที่...................เดือน..................................พ.ศ............................และคณะกรรมการสอบสวนได้สอบสวนตามหมวด ๒ ว่าด้วยการสอบสวนและการลงโทษทางวินัยของ ประกาศคณะกรรมการพนักงานส่วนตำบลจังหวัด................ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการสอบสวน การลงโทษทางวินัย การให้ออกจากราชการ การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ เสร็จแล้ว จึงเสนอรายงานการสอบสวน ดังนี้
                              ๑. มูลกรณีเรื่องนี้ปรากฏขึ้นเนื่องจาก.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
                              ๒. คณะกรรมการสอบสวนได้แจ้งและอธิบายข้อกล่าวหาที่ปรากฏตามเรื่องที่กล่าวหาให้......................................................................................................................ผู้ถูกกล่าวหาทราบแล้วโดย.....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
                              ๓. ....................................................................................ผู้ถูกกล่าวหาได้ให้ถ้อยคำในเบื้องต้นว่า................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
                              ๔. คณะกรรมการสอบสวนได้รวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับข้อกล่าวหาแล้ว ได้ความว่า.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
                               ๕.คณะกรรมการสอบสวนได้แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาให้............................................................................................ผู้ถูกกล่าวหาทราบตามบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา ลงวันที่.....................เดือน...............................พ.ศ..............................โดย.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................    
                                   ๖. คณะกรรมการสอบสวนได้ให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาที่จะยื่นคำชี้แจงแก้ข้อกล่าวหาหรือขอให้ถ้อยคำหรือขอนำสืบแก้ข้อกล่าวหาแล้ว...................................................................ผู้ถูกกล่าวหาได้ชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา/ ให้ถ้อยคำ / นำสืบแก้ข้อกล่าวหา............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
                                    ๗. คณะกรรมการสอบสวนได้ประชุมพิจารณาลงมติแล้ว เห็นว่า.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

คณะกรรมการสอบสวนจึงขอเสนอสำนวนการสอบสวนมาเพื่อโปรดพิจารณาดำเนินการต่อไป                                                                                                                                                 ประธานกรรมการ
                                                                         
                                                     (.......................................................................)

                                                                                                                                      กรรมการ
                                                                                                                                    
                                                     (.......................................................................)


                                                                                                                                      กรรมการและเลขานุการ
                                                     (.......................................................................)

แบบ สว.5 บันทึกถ้อยคำพยานของฝ่ายกล่าวหา[วินัย]

แบบ สว.๕
บันทึกถ้อยคำพยานของฝ่ายกล่าวหา
เรื่อง การสอบสวน............................................................................ซึ่งถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง

..........................................................................
                                                                                                      สอบสวนที่.................................................................
                                                              วันที่.................เดือน.......................................พ.ศ............................................
                           ข้าพเจ้า.............................................................................อายุ...............ปี สัญชาติ.........................ศาสนา.......................อาชีพ..............................................ตำแหน่ง.............................................................................สังกัด...................................................อยู่บ้านเลขที่.....................หมู่ที่.....................ตำบล......................................................อำเภอ.....................................................จังหวัด..........................................................

                    คณะกรรมการสอบสวนได้แจ้งให้ข้าพเจ้าทราบว่า ข้าพเจ้าเป็นพยานในเรื่อง...........................................................................................................ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ตามคำสั่งองค์การบริหารส่วนตำบล.....................................................ที่............./....................................ลงวันที่................เดือน................................พ.ศ..................................

                           ข้าพเจ้าขอให้ถ้อยคำตามความสัตย์จริงดังต่อไปนี้

                           ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

                          ข้าพเจ้าขอรับรองว่า คณะกรรมการสอบสวนมิได้กระทำการล่อลวง  ขู่เข็ญ ให้สัญญาหรือกระทำการใด  เพื่อจู.ใจให้ข้าพเจ้าให้ถ้อยคำอย่างใดๆ และข้าพเจ้าได้ฟังบันทึกถ้อยคำที่อ่านให้ฟัง/ ได้อ่านบันทึกถ้อยคำเองแล้ว ขอรับรองว่าเป็นบันทึกถ้อยคำที่ถูกต้อง จึงลงลายมือชื่อไว้ต่อหน้าคณะกรรมการสอบสวน
                                                                                                                                                พยาน

                                                                      (....................................................................)
                                                                                                                                               ผู้บันทึกถ้อยคำ

                                                                      (......................................................................)

                                  ข้าพเจ้าขอรับรองว่า...............................................................................ได้ให้ถ้อยคำและลงลายมือชื่อต่อหน้าข้าพเจ้า
                                                                                                                               

                                                                                                                                    
                                                                                                                                    ประธานกรรมการ
                                                                          
                                                     (.......................................................................)

                                                                                                                                      กรรมการ
                                                                                                                                    
                                                     (.......................................................................)


                                                                                                                                      กรรมการและเลขานุการ
                                                     (.......................................................................)




































แบบ สว.5 บันทึกถ้อยคำพยานของฝ่ายกล่าวหา[วินัย]

แบบ สว.๕
บันทึกถ้อยคำพยานของฝ่ายกล่าวหา
เรื่อง การสอบสวน............................................................................ซึ่งถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง

..........................................................................
                                                                                                      สอบสวนที่.................................................................
                                                              วันที่.................เดือน.......................................พ.ศ............................................
                           ข้าพเจ้า.............................................................................อายุ...............ปี สัญชาติ.........................ศาสนา.......................อาชีพ..............................................ตำแหน่ง.............................................................................สังกัด...................................................อยู่บ้านเลขที่.....................หมู่ที่.....................ตำบล......................................................อำเภอ.....................................................จังหวัด..........................................................

                    คณะกรรมการสอบสวนได้แจ้งให้ข้าพเจ้าทราบว่า ข้าพเจ้าเป็นพยานในเรื่อง...........................................................................................................ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ตามคำสั่งองค์การบริหารส่วนตำบล.....................................................ที่............./....................................ลงวันที่................เดือน................................พ.ศ..................................

                           ข้าพเจ้าขอให้ถ้อยคำตามความสัตย์จริงดังต่อไปนี้

                           ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

                          ข้าพเจ้าขอรับรองว่า คณะกรรมการสอบสวนมิได้กระทำการล่อลวง  ขู่เข็ญ ให้สัญญาหรือกระทำการใด  เพื่อจู.ใจให้ข้าพเจ้าให้ถ้อยคำอย่างใดๆ และข้าพเจ้าได้ฟังบันทึกถ้อยคำที่อ่านให้ฟัง/ ได้อ่านบันทึกถ้อยคำเองแล้ว ขอรับรองว่าเป็นบันทึกถ้อยคำที่ถูกต้อง จึงลงลายมือชื่อไว้ต่อหน้าคณะกรรมการสอบสวน
                                                                                                                                                พยาน

                                                                      (....................................................................)
                                                                                                                                               ผู้บันทึกถ้อยคำ

                                                                      (......................................................................)

                                  ข้าพเจ้าขอรับรองว่า...............................................................................ได้ให้ถ้อยคำและลงลายมือชื่อต่อหน้าข้าพเจ้า
                                                                                                                               

                                                                                                                                    
                                                                                                                                    ประธานกรรมการ
                                                                          
                                                     (.......................................................................)

                                                                                                                                      กรรมการ
                                                                                                                                    
                                                     (.......................................................................)


                                                                                                                                      กรรมการและเลขานุการ
                                                     (.......................................................................)